ที่พูดมาทั้งหมด จะเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ถ้าเป็นท้องถิ่น ไม่ใช่ค่ะ… แจ้งเวียนหนังสือให้ทราบเรื่องกรอบอัตรากำลัง ภายในเดือนพฤษภาคม 2553 นี้ค่ะ… ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ให้ศึกษาเรื่องการปรับเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.
เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้วตอนนี้ เวลาเทียบก็เท่าเดิมก่อนค่ะ แล้วอยู่ที่ว่าเมื่อ 1 เม.ย.53 ได้กี่ % ถ้า 2 % ก็เลื่อนค่าจ้างใหม่ได้อีก 0.5 ขั้นค่ะ ถ้า 4 % ก็เลื่อนค่าจ้างใหม่ได้อีก 1 ขั้นค่ะ แต่ต้องรอหนังสืออนุมัติกรอบจาก ก.พ.และหนังสือแจ้งจากกรมบัญชีกลางสั่งการก่อนค่ะ… ไม่สามารถปรับเทียบให้เท่ากับเพดานใหม่ได้นะค่ะ เพราะที่รัฐทำให้ครั้งนี้ ได้ขยายเพดานค่าจ้างให้มากขึ้นค่ะ… ที่ให้สอบถามไปยังกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจนค่ะ เพราะกรมบัญชีกลางจะตรวจสอบในเรื่องของการปรับเปลี่ยนตำแหน่งค่ะ ไม่อยากให้ทำแล้วเสียเวลาต้องมานั่งแก้ไขคำสั่งว่าไม่ได้ไงค่ะ…ทางกรมบัญชีกลางคงมีเหตุผลนะคะ อย่าเพิ่งด่วนสรุปความโดยที่ยังไม่ได้ฟังเหตุผลด้วยค่ะ… ว่าได้หรือไม่ เพราะถ้าข้าราชการเงินเดือนขึ้น ลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ก็น่าจะขึ้นนะค่ะ… หรือไม่ก็สอบถามหัวหน้าส่วนราชการที่คุณสังกัดดูนะค่ะ… จากที่เขียนบล็อกมา ทำให้ทราบว่า ส่วนราชการไทย ควรพัฒนาด้านความรู้ให้กับหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างแท้จริงในการให้ความสำคัญ สิทธิประโยชน์ของกลุ่มบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ อย่างมากจริง ๆ ค่ะ…
คุณสมบัติให้ใช้ข้อใดข้อหนึ่งค่ะ เพราะมีคำว่าหรือ… เพื่อที่ทางลูกจ้างทางนี้จะได้รับความรู้และการช่วยเหลือที่ดีเยี่ยมจากอาจารย์… แต่ถ้ายังต้องการ ก็โพสต์เข้ามาถามใหม่ก็ได้ค่ะ จะได้ส่งให้ค่ะ… กำหนดตำแหน่งใหม่หรือไม่…ถ้าทำแบบเดิม ก็ไม่สามารถทำได้ค่ะ… ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… ปัจจุบันสามารถได้รับบำเหน็จรายเดือนได้แล้วค่ะ ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ…
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของลูกจ้างประจำที่กระทรวงการคลังกำหนด ทุกกระทรวงใช้แนวทางเดียวกันหรือเปล่าคะ เช่น สพฐ. ถ้าเป็นอย่างที่บอกข้างต้น ก็สามารถปรับตำแหน่งใหม่ได้ ในระดับเดิมค่ะ… นะค่ะ ถ้าอยู่ในตำแหน่งระดับครุภัณฑ์ ระดับ 3 น่าจะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง กลุ่มที่ 2-3 นะค่ะ… แต่ถ้าปัจจุบันส่วนกลางมอบอำนาจมาให้ส่วนราชการดำเนินการเองแล้ว ก็ดำเนินการประกาศ ฯ แบบที่พี่บอกข้างต้นนั่นแหล่ะค่ะ…
สำหรับคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งกระทรวงการคลังจะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ทางกระทรวงการคลังคงจะมีเหตุผลในการปรับนะค่ะ…การปรับชั้น 3 เป็น 4 ในตำแหน่งพนักงานพิมพ์นั้น ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงาน ก.พ. ด้วยค่ะ…สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งต้องศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือสำนักงาน ก.พ. เกณฑ์การย้ายของลูกจ้างประจำ พี่ก็ไม่เคยเห็นนะค่ะ…แต่ถ้าเป็นข้าราชการ มีค่ะ…แต่การย้ายถ้าคุณเป็นข้าราชการ การย้ายมีหลายกรณีค่ะ…ย้ายกลับภูมิลำเนา ย้ายอยู่รวมกับคู่สมรส (ต้องมีใบทะเบียนสมรสค่ะ แนบค่ะ)…ย้ายดูแลบิดามารดา…ฯลฯ…แต่การอนุมัติขึ้นอยู่กับส่วนราชการที่ให้ไป + ส่วนราชการที่รับย้ายค่ะ…
ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 3 ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนกลุ่ม น่าจะรอให้เงินเดือนในกลุ่มเดิมเต็มขั้นก่อน แล้วจึงจะทำการปรับเปลี่ยนให้ค่ะ… นักร้องหนุ่มไม่สำนึก พราวด์นั่งแท่นลูกรักทำผิดก็แค่ขอโทษ “มาดามกุ๊งกิ๊ง” มาแล้วย่ะทุกคน ตามมาแซ่บ มาเผือกกันเร็ว คิดว่าเดาไม่ยาก ทุกคนรู้เชื่อเดี๊ยน…
ถ้าปรับเปลี่ยน น่าจะเป็นตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ นะคะ…เพราะทำเกี่ยวกับเรื่องโสตทัศนศึกษาได้ ให้คลิกดูที่ไฟล์ด้านบน กลุ่มงานช่างค่ะ สำหรับเงินค่าจ้างนั้น ก็อยู่ในไฟล์นั้นอยู่แล้วค่ะ ศึกษาให้ละเอียดนะค่ะ แล้วจะทราบว่าควรเปลี่ยนหรือไม่… การที่เราจะขอเปลี่ยนตำแหน่งคงจะไม่ได้ ต้องปรึกษาที่ ผอ.และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ก่อนค่ะว่าจะดำเนินการให้หรือไม่ เพราะเป็นอำนาจของส่วนราชการค่ะ…ถ้าทำให้หรือตกลงกันได้ก็สามารถทำได้ค่ะ…ความจริงแล้ว ทาง สพม. ต้องทำการชี้แจงให้ลูกจ้างประจำรับทราบค่ะว่าจะให้ดำเนินการอย่างไร… คุณลองศึกษาคุณสมบัติของตำแหน่งพนักงานพัสดุก่อนนะค่ะว่าทำได้หรือไม่…ถ้าทำได้ ก็ให้ดูภาระงานที่คุณได้ปฏิบัติ ถ้าได้ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการ และปรึกษาสำนักงาน ก.พ. ค่ะ ว่าได้หรือไม่…ถ้าได้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ค่ะ…
การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ เป็นช่างไฟฟ้า ให้ดูที่ความประสงค์ของส่วนราชการด้วยนะคะว่า หน้าที่หลักที่ให้คุณได้ปฏิบัติปัจจุบันคือ ตำแหน่งใด และส่วนราชการต้องการให้คุณปฏิบัติงานอะไรส่วนใหญ่…การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ด้วยค่ะว่าสำนักงาน ก.พ. แจ้งว่าอย่างไร….ถ้าระบุจำนวนปีก็ควรปฏิบัติตามนั้น แต่ถ้าไม่ระบุ ก็เป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ค่ะ… ขอบคุณค่ะ…งานในหน้าที่ เราต้องเรียนรู้อีกมากมายค่ะ บางครั้งเป็นเรื่องเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ที่เราต้องเก็บรายละเอียดให้ได้มากที่สุด…บางเรื่องเราไม่เคยทำก็ต้องหมั่นศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ โดยเฉพาะระเบียบบางฉบับมีมาตั้งแต่เรายังไม่เกิด เราก็ต้องศึกษาค้นคว้า สอบถามผู้ที่รู้ เพื่อนำมาประกอบและใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดในการทำงานค่ะ…ค่ะ ต้องขอขอบคุณอีกครั้งค่ะ… ให้ปรับลูกจ้างประจำเข้าสู่กลุ่มใหม่แล้วนั้น สำหรับลูกจ้างประจำที่ค่าจ้างเต็มขั้น (ปกติจะได้รับเงิน 2 % หรือ 4 %) แต่เนื่องจาก ผู้เขียนได้ประสานกับกรมบัญชีกลางแล้ว แจ้งว่า…
ใช่ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ ถ้านิยามเหมือนกัน ก็ใช้ด้วยกันได้ แต่ถ้านิยามคำว่า ลูกจ้างประจำของส่วนราชการกับลูกจ้างประจำของ อบต. ใช้ระเบียบคนละฉบับ ก็ไม่ใช่ ให้คุณสอบถามเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบดูก่อนนะค่ะ ผู้เขียนเกรงว่าถ้าตอบไปแล้วผิด เพราะปัจจุบันกฎหมายมีมากมายเหลือเกิน…แต่ถ้าความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการหมายรวมถึงลูกจ้างประจำของ อบต. รวมอยู่ด้วยแล้วล่ะก็สามารถปรับค่าจ้างได้ค่ะ… (เนื่องจาก อบต. เพิ่งจะมาก่อตั้งหลังจากระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ)เพราะในความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการตามระเบียบนั้น มีสังกัดตามส่วนราชการ กระทรวง ค่ะ เลยไม่แน่ใจว่าหมายความรวมถึง ลูกจ้างประจำของ อบต.หรือไม่…อย่างไรแล้ว ขอให้สอบถามเจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่หรืองานบุคคลดูก่อนนะค่ะ… ต้องปรับตัวให้อยู่ในโลกของการทำงานในปัจจุบันให้ได้นะค่ะ…แต่บางครั้งข่าวสารที่ได้มา เราต้องใช้วิจารณญาณในการฟังด้วยนะค่ะ…ว่าจริงหรือไม่…สำหรับท่านที่เกษียณ 30 ก.ย.
ตำแหน่งคุณ เดิมตำแหน่งใดกันแน่ค่ะ…ถ้าเป็นตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ รู้สึกว่าจะไม่มีในตำแหน่งที่จัดเข้าสู่กลุ่มนะค่ะ…ลองศึกษาในบล็อกที่พี่เขียนไว้ให้อีกครั้งนะค่ะ…เพราะเท่าที่คุณบอกตำแหน่งมานั้น พี่ดูให้หลายรอบไม่มีค่ะ…แต่ ทางสำนักงาน ก.พ. ได้แจ้งตามหนังสือ ว 35 ว่า ถ้าไม่มีให้ส่วนราชการแจ้งให้สำนักงาน ก.พ. จะดำเนินการเทียบตำแหน่งให้ค่ะ…คุณลองถามส่วนราชการที่เป็นคนทำเรื่องให้คุณสิค่ะ…แต่ที่สำนักงาน ก.พ.
ดูผลของการทำงานของลูกน้องค่ะ…เลยมีความสบายใจ และเป็นเสียงให้กับบุคลากรใน ม. ว่า ให้เน้นการทำงานเป็นหลัก…คุณโชคไม่ดีจังที่หัวหน้าไม่มองถึงผลงาน…แต่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะว่า ในเมื่อเราทำดีมาตลอด ขอให้ทำความดีนั้นต่อค่ะ…สักวันคงเป็นผลที่เกิดจากการกระทำของเราบ้าง…ใครจะได้อย่างไรก็ช่างเขาเถอะค่ะ…ฟ้ามีตาค่ะ เชื่อในกฎแห่งกรรมบ้างหรือไม่? ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว 46 ลงวันที่ 6 พ.ค.2554 จะหมายถึงการปรับอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งถ้าเป็นสมัยก่อนจะไม่ปัญหาสำหรับการแจ้งว่า คือ ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ต่อมาเมื่อมี อบต. เกิดขึ้น ผู้เขียนยังสงสัยว่าลูกจ้างประจำของ อบต.
ระดับ three ในกลุ่มค่าจ้างจะอยู่ในกลุ่มที่ แล้วค่ะ ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้น เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะปรับให้คุณโดยเทียบค่าจ้างที่สูงกว่า 18,190 บาท โดยสามารถเลื่อนเป็นค่าจ้างที่สูงขึ้น ได้เลยค่ะ ถ้าจำไม่ผิด 18,380 บาท ค่ะ เพราะที่ ม. ก็ดำเนินการไปให้กับลูกจ้างแล้วค่ะ…เป็นเพราะกรมบัญชีกลาง กำหนดให้แล้วนี่ค่ะ ว่าตำแหน่งพนักงานพิมพ์ อยู่ในกลุ่มการรับค่าจ้างที่กลุ่ม 1-2 ค่ะ (ไม่ต้องทำอะไรแล้วค่ะ) งานการเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้เลยค่ะ…จนกว่าจะไปตันที่ค่าจ้างขั้นสูงของกลุ่มที่ 2 ค่อยดำเนินการเปลี่ยนตำแหน่งให้ใหม่ค่ะ… ขอได้สิค่ะ…ทำไมขอไม่ได้ละค่ะ…เพราะหนังสือเกี่ยวกับมาตรฐานกำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำก็ออกบังคับใช้แล้ว…ตอนนี้ ตำแหน่งใหม่ก็ได้มีผลใช้แล้ว…ของ ม. ก็แจ้งมาให้ทราบแล้วค่ะ…ดูในเว็บที่ผู้เขียนนำมาเขียนไว้ในบล็อกนะค่ะ…และก็ได้ชี้แจงให้ลูกจ้างประจำในสังกัดทราบไปด้วยแล้ว…และผู้เขียนก็ได้ประสานกับกรมบัญชีกลางแล้วได้รับแจ้งมาว่า… ขอเรียนสอบถามพี่ว่า ทำไมตอนนี้ทาง สพม.ยังไม่มีหนังสือแจ้งเรื่องการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ตำแหน่งใหม่เลย ตอนนี้ยังไม่สามารถดำเนินการอะไรได้เลย บัญชีเงินเดือนยังใช้บัญชีเดิมอยู่เลย ทำไมไม่รวดเร็วเหมือนหน่วยงานของ มรภ.เลย ทั้งๆที่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน สอบถามทางเจ้าหน้าที่ ได้รับคำตอบว่า ต้องให้ทางหน่วยเหนือสั่งลงมาก่อน ….
ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เรื่อง “การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่” ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว eighty three ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เป็นเพราะรัฐปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า มั่นคงและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันค่ะ…แต่ลูกจ้างประจำก็ต้องมีการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นด้วยนะค่ะ…เพื่ออนาคตและความมั่นคงในอาชีพของท่านด้วยค่ะ… ไม่ทราบว่า คุณเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช่ ตำแหน่งคุณ คือ ช่างโลหะแผ่น ชั้น 2 ซึ่ง ไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของลูกจ้างประจำนะค่ะ มีแต่ ตำแหน่งช่างโลหะ…
เหตุที่ผู้เขียนต้องมานั่งตอบ มาบอก เพียงเพื่อ “ให้ทราบว่าโลกปัจจุบันเขาไปถึงไหนกันแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงต่อบ้านเมืองและระบบราชการมากมาย แต่บางคนก็มิได้ศึกษา แต่อยู่เพื่อรับเงินเดือนไปวัน ๆ ไม่สมกับตนเองได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งกันเลย ไม่คิดถึง คำว่า “ข้าราชการ” ที่ดีมากนัก น่าสงสารประเทศชาติจังค่ะ… สำหรับคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นผู้ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จะต้องทำอย่างไรนั้น…ผู้เขียนขอบอกว่าให้เตรียมตัว “อ่านหนังสืองานสารบรรณ หรือเรื่องที่ส่วนราชการต้องการสอบเพื่อคัดเลือกท่าน” เท่านั้นเองค่ะ…สอบให้ผ่านตามที่ผู้เขียนบอกข้างต้นค่ะ… จากข้อ 2 สามารถทำเรื่องไปที่ กลุ่มงานบุคคลของ สพท. ก่อนนะค่ะ…เพราะเขาเป็นส่วนราชการที่ต้องดูแลกลุ่มลูกจ้างประจำอยู่…ปรึกษาเขาก่อนก็ได้ว่าเรามีคุณสมบัติครบ และเพื่อความก้าวหน้าของเราเอง…(เขาจะทำเรื่องไปที่ สพฐ. แล้ว สพฐ.จะนำเรื่องคุณเสนอให้ สำนักงาน ก.พ. เองค่ะ)… ถ้าจะไปอยู่กลุ่มที่ 2 ได้ คุณต้องมีการปรับเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three ก่อนค่ะ อาจโดยการสอบคัดเลือก ซึ่งส่วนราชการจะเป็นผู้จัดสอบเกณฑ์ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 นะค่ะ…เมื่อสอบได้และได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three แล้ว จึงจะสามารถไปยังกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ…(ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนดค่ะ)…
เมื่อไหรสงสัยแล้วจะเข้ามาถามใหม่นะค่ะ… การใช้บัญชีอัตราค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการใหม่ 5 % ตามบล็อกด้านล่างนี้นะค่ะ… แต่ในความคิดเห็นของผู้เขียนที่เคยผ่าน ๆ มา การนับเวลาทวีคูณ เขาจะนับให้ตอนเกษียณอายุราชการเท่านั้น สำหรับการขอปรับระดับชั้นงานนั้น ไม่นับค่ะ ให้นับในเวลาปกตินี้เท่านั้นค่ะ… เวลาจะขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ขอให้ดูให้ดี ๆ นะค่ะ ว่าตำแหน่งใหม่ที่จะขอปรับเปลี่ยนนั้น ชื่อเต็ม ที่ถูกต้องของตำแหน่งนั้น คือ ตำแหน่งใด เพราะถ้าพิมพ์ผิดจะทำให้เกิดการสับสนและความวุ่นวายจะตามมาค่ะ… ผู้เขียนก็น้อมขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของเมืองพิษณุโลก เช่น พระพุทธชินราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระสุพรรณกัลยา ฯลฯ จงดลบันดาลให้คุณและครอบครัวพบแต่ความสุข สมหวังตลอดปี 2554 และตลอดไปด้วยค่ะ…
อย่างน้อยผู้ที่ทำงานด้านงานการเจ้าหน้าที่ หรือหัวหน้าส่วนราชการ ต้องสนใจในเรื่องของคนในองค์กรทุกคนให้มาก ๆ กว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบันค่ะ…ไม่ใช่ปล่อยปะละเลย จะทำให้เกิดปัญหาที่แคลงใจต่อไปในระยะยาวได้ค่ะ… การประกาศของส่วนราชการในการขอปรับเปลี่ยนตำแหน่งจากพนักงานธุรการ 1 เป็น 2 หรือ 3 หรือ four เพราะเหตุที่ทำต้องแจ้งให้บุคลากรในสังกัดเราทราบว่ามีท่านใดที่จะประสงค์ปรับเปลี่ยน เพราะบางส่วนราชการจะมีเจ้าหน้าที่ตำแหน่งดังกล่าวหลายคนค่ะ… คุณตำแหน่งพนักงานพิมพ์ ระดับ three เมื่อเทียบกลุ่มค่าจ้างอยู่ที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้างของคุณยังไม่เต็มเพดานขั้นสูงของระดับ 1 คุณก็รับขั้นค่าจ้างระดับ 1 ไปจนเต็มเพดาน กลุ่มที่ 1 แล้ว จึงจะปรับไปเป็น ขั้นค่าจ้างในกลุ่มที่ 2 ค่ะ…
ขอให้คุณไปที่เว็บไซต์ด้านล่างนี้นะค่ะ…จะได้คำตอบที่ชัดเจนค่ะ… การจะสมัครได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่ทาง สพฐ.จะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ว่าวุฒิใดบ้างที่สามารถสมัครได้ … ได้ค่ะ ขึ้นอยู่กับ สพป.หรือ สพม.ค่ะ แบบฟอร์มการย้ายลองศึกษาตามเอกสารที่ไฟล์ด้านล่างนี้นะคะ… ค่ะ เมื่อเลื่อนขั้นแล้ว ก็ปรับ 5 % ให้กับลูกจ้างได้เลยค่ะ…ตามไฟล์หนังสือข้างต้นค่ะ… วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้บนพื้นที่สูง บทความวิชาการ สวพส. ขอให้คุณศึกษาตามเว็บไซต์ด้านล่างนี้ เพื่อได้ข้อมูลเพิ่มเติมค่ะ…ขอบคุณค่ะ…
ให้ดูค่าจ้างในแต่ละระดับนะค่ะ…ค่าจ้าง รัฐเปิดเพดานให้แล้วค่ะ… ผู้เขียนได้ตรวจสอบใน Internet จากมหาวิทยาลัยแล้วนะค่ะ ก็สามารถ download File ได้นี่ค่ะ…อาจเป็นเพราะ internet ของคุณหรือเปล่าค่ะ…ลองดูอีกครั้งนะค่ะ… “เงินเดือน-ค่าตอบแทนพิเศษ”ผู้บริหาร-ขรก. ต้องสอบถามไปที่ สพท.สตูล นะค่ะ เพราะเป็นต้นสังกัดของคุณ จนท.จะเป็นผู้ตรวจสอบคุณสมบัติของคุณ และแจ้งให้คุณทราบค่ะ…
แต่ปัจจุบัน รัฐได้ดำเนินการให้แล้ว แต่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของแต่ละบุคคลนะค่ะที่จะปรับเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ค่ะ… ตอนนี้ ก็ได้เพียงแต่ข่าวนะค่ะ ว่าจะได้ประมาณสิ้น ธ.ค.นี้ แต่ก็ยังเป็นเพียงข่าวเท่านั้นค่ะ ระเบียบที่ประกาศใช้ยังไม่มีนะค่ะ ถ้ามีผู้เขียนจะนำมาแจ้งให้ทราบอีกครั้งค่ะ… ถ้าพูดถึงตามหนังสือของกระทรวงการคลัง และกรมบัญชีกลาง ตามไฟล์ด้านล่างนี้ ก็ยังถือว่าให้หน่วยงานปฏิบัติอยู่นี่ค่ะ… four % ให้กับลูกจ้างที่มีค่าจ้างเต็มขั้น อาจจะรอหนังสือจาก ก.พ. + กรมบัญชีกลาง ครั้งเดียว แล้วก็ทำการเลื่อนขั้นค่าจ้างให้ค่ะ…
2553 นี้…ก็ได้รับเงินค่าจ้างในอัตราใหม่ด้วยค่ะ…แต่อาจช้านิดหนึ่งนะค่ะ…ตามที่แจ้งตามข้างต้นค่ะ… ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ…
แล้วไปคลิกที่สารบัญด้านข่าวขวามือนะค่ะ… สำหรับจะปรับเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ 3 ก็ขอให้คุณศึกษาหนังสือ ตามข้อ 1. และ /ว 14 คู่กันค่ะ…โดยต้องปฏิบัติหน้าที่ให้ได้ตามนี้ค่ะ… สำหรับพนักงานธุรการ คุณก็ต้องเคยได้ปฏิบัติงานสารบรรณมาพอสมควร เช่น สามารถร่างหนังสือโต้ตอบหนังสือราชการได้ การรับ – ส่ง หนังสือราชการ การเก็บรักษา การยืม การทำลายหนังสือในระดับหนึ่ง ให้ศึกษาคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานธุรการด้วยนะคะ…
สำหรับค่าจ้างใหม่ ถ้าเทียบเข้าสู่กลุ่มงาน คงยังไม่ได้หรอกค่ะ…จะได้ก็ตอนเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม 2553 ค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งนั้น คุณต้องมีหน้าที่ทำงานตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่จะปรับเปลี่ยนด้วยนะค่ะ…ถ้าภาระงานไม่มี ก็ไปตำแหน่งนั้นไม่ได้ค่ะ…คุณลองศึกษาตามบล็อกด้านล่างนี้ด้วยนะค่ะ… ค่ะก็ขอแสดงความยินดีด้วยนะค่ะ…ได้แน่ค่ะ…แต่ต้องรอให้กระบวนการเรียบร้อยก่อนนะค่ะ…ของที่ ม. ผู้เขียน ลูกจ้างประจำก็ได้รับทราบกันเรียบร้อยแล้วค่ะ…แต่ขอฝากเรื่องการพัฒนาตนเองด้วยนะค่ะ…ถ้าเราพัฒนาความรู้ พัฒนางานของเราให้ดีขึ้น…รัฐไม่ทิ้งท่านหรอกค่ะ…เพียงแต่บางครั้งต้องรอเวลาค่ะ…จะให้ได้ดังใจเราไม่ได้หรอกค่ะ… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ…
2537โดยมีสาระสำคัญว่า“ลูกจ้างประจำออกจากราชการเมื่อพ้นจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบําเหน็จลูกจ้างฯ..”ซึ่ง ตามข้อ 6 แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้าง พ.ศ. ต้องสอบถามเขตพื้นที่นะค่ะ…แต่ถ้าเป็นมหาวิทยาลัยแล้ว ปัจจุบัน คปร. ไม่ให้รับโอนจากหน่วยงานอื่นค่ะ นอกจากรับโอนได้จากมหาวิทยาลัยด้วยกัน เช่น มหาวิทยาลัย (เดิม) หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฏ หรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เท่านั้นค่ะ…
งานการเจ้าหน้าที่ ดูนะค่ะ…เพราะกฎหมายจะใช้คนละฉบับหรือเปล่า ไม่แน่ใจค่ะ…แต่ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ก็ใช้ที่บล็อกนี้ค่ะ… ขอให้คุณดูมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีให้ดีนะค่ะ ว่าจะสามารถเติบโตได้ถึงระดับไหน กับเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 1 ต่อไป ก็เป็น ระดับ 2,three,4 ซึ่งผู้เขียนขอให้ดูว่าเพดานของค่าจ้าง ตำแหน่งไหนสูงกว่ากันค่ะ ถ้าพอ ๆ กัน ก็ขึ้นอยู่กับคุณตัดสินใจว่าจะไปอยู่ในตำแหน่งไหนค่ะ…แต่พนักงานพิมพ์ เป็นงานที่กว้างกว่าพนักงานการเงินและบัญชีนะค่ะ…ลองศึกษารายละเอียดดูนะค่ะ… สำหรับผู้เขียน ขอฝากลูกจ้างประจำทุกท่าน ในเมื่อสำนักงาน ก.พ. ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขกลุ่มตำแหน่งให้กับท่านแล้ว ขอให้ท่านได้พัฒนาตนเอง หมั่นฝึกฝนความรู้ความสามารถของตนเองรวมทั้งประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อผลงานและความก้าวหน้าของตัวท่าน ต่อหน่วยงาน ต่อประเทศชาติ ตลอดจนถึงอนาคตของท่านและครอบครัวจะได้รับความมั่นคงในบั้นปลายที่ท่านได้เกษียณอายุราชการแล้วค่ะ… สำหรับขั้นค่าจ้างที่เต็มขั้นนั้น คุณไม่สามารถนำมาเทียบกับเพดานที่รัฐเปิดกว้างได้หรอกค่ะ…ต้องค่อยเป็นค่อยไปค่ะ…ค่าจ้างจะเพิ่มต้องอาศัยด้วยเวลา + ผลงานที่ปฏิบัติค่ะ…รัฐขยายเพดาน เพื่อให้ลูกจ้างประจำได้รับเงินในการครองชีพเพื่ออยู่ได้ค่ะ…แต่ทั้งนี้ต้องกำหนดด้วยเงื่อนของผลงานที่เราปฏิบัติให้รัฐ + เวลา ค่ะ… ถ้าตำแหน่งเดิม คือ ตำแหน่งลูกมือช่าง เมื่อเข้าสู่ตำแหน่งใหม่จะเป็นตำแหน่ง ผู้ช่วยช่างทั่วไป รหัส 3912 กลุ่มช่าง ค่ะ…สำหรับตำแหน่งที่คุณบอกมา ตำแหน่งลูกมือช่างซ่อมเครื่องมือแพทย์ นั้น ในตำแหน่งเดิมไม่มีค่ะ…ต้องถามฝ่ายการเจ้าหน้าที่ว่า ตำแหน่งที่ถูกต้องนั้น คือ ตำแหน่งลูกมือช่างใช่หรือไม่ สำหรับซ่อมเครื่องมือแพทย์ เป็นลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติใช่หรือไม่…เพราะที่แจ้งมาไม่ละเอียดค่ะ…และไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเดิมค่ะ…ถ้าอย่างไรแล้วสอบถามเพิ่มเติมใหม่ได้นะค่ะ…ขอบคุณค่ะ…
ร.ท.หญิง สุณิสา กล่าวอีกว่า ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กลุ่มดังกล่าวมีประมาณ 65,172 คน ต้องใช้งบประมาณจำนวน 3,300.eighty two ล้านบาท ซึ่งในจำนวนนี้มีบุคลากรที่ต้องลงไปปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายสร้างสันติสุขภาคใต้ของรัฐบาล จำนวน 2,040 อัตรา ทั้งนี้ ขอให้ หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ที่ได้รับค่าจ้าง ในลักษณะจ้างเหมา พิจารณาความจำเป็นหากต้องปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และเสนอความต้องการผ่านคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขอความเห็นชอบจากครม.ต่อไป. การเปลี่ยนระดับชั้น ถ้าเดิมอยู่ชั้น 2 ก็ต้องค่อย ๆ เปลี่ยน เป็นชั้น 3 และชั้น four ตามลำดับค่ะ ไม่กระโดดข้ามไปนะค่ะ…เพียงแต่เปิดเพดานค่าจ้างให้สูงขึ้นค่ะ ค่อย ๆ ไต่ไปค่ะ…อยู่ที่ส่วนราชการด้วยนะค่ะ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการว่าสามารถทำได้ค่ะ… ต้องถามหัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ…ถ้าเข้าใจตรงกันก็สามารถทำได้ค่ะ เพราะเรา สามารถพัฒนาและมีความก้าวหน้าด้วยตัวของเราเองค่ะ…ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติการเปลี่ยนตำแหน่งที่ไปด้วยนะค่ะ…และหน้าที่ที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยค่ะ…(ถ้าเปลี่ยนได้แล้ว ก็อยู่ที่ค่าจ้างเราจะPass ไปตรงค่าจ้างชั้น 3 ที่ใกล้เคียงกันกับตำแหน่งเดิม แต่สูงกว่าตำแหน่งเดิม ในกรณีได้ 2 หรือ four % ก็สามารถเลื่อนขั้นขึ้นไปได้อีก zero.5 หรือ 1 ขั้น ตามลำดับค่ะ)…
ไม่ทราบว่าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ …เนื่องจากข้อมูลไม่ละเอียดพอ…ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ ถ้าเป็นเทศบาล ต้องสอบถามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะค่ะ…เพราะไม่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ที่พี่เขียนนี้จะเกี่ยวกับระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการค่ะ… ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… “หมวดเจี๊ยบ” เผย ครม.อนุมัติปรับขึ้นอัตราเงินเดือน ลูกจ้าง-ภารโรง คณะกรรมการปฏิรูป ก.ม.ทั้งให้ สพฐ.รองรับ นศ.ทุนพระราชทานกลับภูมิลำเนา “ครูคืนถิ่น” นอกจากนี้ให้กีฬาแห่งชาติจัด 2 ปีต่อครั้ง… สำหรับที่สำรวจลูกจ้างประจำที่มีลักษณะงานเหมือนข้าราชการนั้น ผู้เขียนก็ไม่ทราบค่ะ ต้องสอบถามที่ ก.พ.
ปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ มีหลากหลายสังกัดเหลือเกินค่ะ ไม่เหมือนสมัยก่อน การที่จะแจ้งอะไรให้ทราบก็ต้องให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนจึงจะนำมาแจ้งได้ค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ… คงต้องรอกฎหมายของลูกจ้างประจำก่อนกระมังค่ะ…เพราะตอนนี้ยังไม่เห็นมีค่ะ เอาไว้จะถามกรมบัญชีกลางให้แล้วจะมาบอกนะค่ะ… ต้องเริ่มต้นเงินเดือนของการเป็นครูผู้ช่วยค่ะ เงินเดือนไม่สามารถนำมารวมกันได้ค่ะ เพราะเป็นบุคลากรภาครัฐคนละประเภทกัน ภาระงานก็แตกต่างกันค่ะ… ให้ดูที่คำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ ถ้ามีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งพนักงานห้องสมุดได้ ก็ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ถ้าสามารถเปลี่ยนได้ก็ให้ดำเนินการได้ค่ะ…
“Atomic Pills” คาเฟ่สุดอร่อยแต่มาแบบแคลอรีต่ำ ทานได้แบบไม่ต้องกลัวอ้วน เพราะทุกจานถูกเลือกโดยคุณหมอ! “ครม.”ไฟเขียวเพิ่มเงินเดือน “ภารโรง-ลูกจ้าง”สังกัดสพฐ. ขอถามเป็นความรู้นะครับ ว่านักการภารโรงแบบสัญญาจ้างชั่วคราว จะรับเงินเดือนจากใคร… สังกัดใด ตำแหน่งใด ค่าจ้างปัจจุบันเท่าใด ทำหน้าที่ใดค่ะ…
การเปลี่ยนตำแหน่งใด ๆ น่าจะต้องรอหนังสือของ สพฐ.แจ้งว่าสำนักงาน ก.พ. รับรองมาแล้วค่ะ…ต้องฟังคำสั่งจาก สพฐ. การเทียบค่าจ้างได้เท่าเดิมค่ะ…จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น จนถึงเพดานสูงสุดของกลุ่ม 1 ก่อนแล้วจึงปรับเข้าสู่กลุ่ม 2 ค่ะ…
ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ… แจ้งมาไม่มีตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้…ซึ่งสำนักงาน ก.พ. ก็ได้แจ้งให้ทราบตามหนังสือ ในไฟล์ด้านล่างนี้ (ข้อ 2) แต่บัดนี้ล่วงเลยเวลามานานแล้ว…ขอให้คุณติดต่อสำนักงาน ก.พ. ตามเบอร์โทร.ในหนังสือด้านล่างนี้นะค่ะ…ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่ทำเรื่องนี้ ว่าจะให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป…ถ้าเขาแจ้งให้ทำไปเพิ่มเติม เราก็แจ้งไปได้ค่ะ…ถ้าเขาบอกไม่ได้ ถามเขาว่ามีวิธีใดบ้างที่จะแก้ปัญหา…และเตรียมเหตุผลที่จะตอบเจ้าหน้าที่ด้วยนะค่ะว่า ทำไมไม่ทำในตอนที่สำนักงาน ก.พ.
ขั้นวิ่งของค่าจ้าง เป็นภาษาพูดค่ะ…ความจริงแล้วเป็นขั้นของค่าจ้างในแต่ละขั้น เช่น zero.5 ขั้น, 1 ขั้น, 1.5 ขั้น และ 2 ขั้น (การได้ขั้นดังกล่าว ขึ้นอยู่การพิจารณาความดีความชอบ + ผลการปฏิบัติงานของบุคคลคนนั้นค่ะ) โดยในแต่ละกลุ่มงานจะมีขั้นของแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกันค่ะ…โดยแต่ละกลุ่มจะมี เขาเรียกว่า “ขั้นต่ำ – ขั้นสูง” (ขั้นสูง คือ เพดานสูงสุดของค่าจ้างในกลุ่มงานนั้นค่ะ)…คือ ค่าจ้างของคุณในกลุ่มงานนี้จะไม่สูงไปกว่านี้ค่ะ เรียกว่า เต็มขั้นค่ะ… คุณต้องศึกษาดูที่หน้าที่ของตำแหน่งผู้ดูแสสถานที่ด้วยนะค่ะว่ามีหน้าที่อย่างไร แล้วคุณปัจจุบันทำงานในลักษณะไหน ทำหรือไม่ ถ้าไม่แล้วหัวหน้าหน่วยงานสั่งให้ทำในตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. หรือไม่ ถ้าเป็นลักษณะงานเหมือนเดิมคงไม่ได้ค่ะ แต่ถ้าภาระงานใช่ตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. ก็สามารถทำได้ แต่ทั้งนี้ให้ศึกษาหนังสือสำนักงาน ก.พ. ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ว 14 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข้อ 6,7 ก่อนนะค่ะหรือจากไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… แล้วพี่ก็ได้เขียนอีกหลายบล็อกค่ะ ซึ่งมีประโยชน์ต่อลูกจ้างประจำด้วย ของค้นหาดูในบล็อกด้านบน แล้วไปคลิกที่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำ…